ข้อมูลของบทความนี้จะเกี่ยวกับอธิกมาส หมายถึง หากคุณกำลังมองหาเกี่ยวกับอธิกมาส หมายถึงมาวิเคราะห์กับpopasia.netในหัวข้ออธิกมาส หมายถึงในโพสต์วันอัฏฐมีบูชา ประวัติและความเป็นมา วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธกำลังลืมเลือนนี้.

สรุปเอกสารที่เกี่ยวข้องกับอธิกมาส หมายถึงอย่างครบถ้วนที่สุดวันอัฏฐมีบูชา ประวัติและความเป็นมา วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธกำลังลืมเลือน

ชมวิดีโอด้านล่างเลย

ที่เว็บไซต์popasia.netคุณสามารถเพิ่มเนื้อหาอื่นที่ไม่ใช่อธิกมาส หมายถึงสำหรับข้อมูลที่เป็นประโยชน์มากขึ้นสำหรับคุณ ที่เว็บไซต์popasia.net เราอัปเดตข่าวสารใหม่และแม่นยำสำหรับผู้ใช้อย่างต่อเนื่อง, ด้วยความปรารถนาที่จะให้บริการข้อมูลที่ดีที่สุดแก่ผู้ใช้ ช่วยให้คุณติดตามข่าวสารออนไลน์ได้รวดเร็วที่สุด.

การแบ่งปันบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่อธิกมาส หมายถึง

ประวัติวันอัฏฐมีบูชาและภูมิหลังวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่ชาวพุทธหลงลืม

รูปภาพบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่เกี่ยวกับอธิกมาส หมายถึง

วันอัฏฐมีบูชา ประวัติและความเป็นมา วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธกำลังลืมเลือน
วันอัฏฐมีบูชา ประวัติและความเป็นมา วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธกำลังลืมเลือน

นอกจากการอ่านข้อมูลเกี่ยวกับบทความนี้ วันอัฏฐมีบูชา ประวัติและความเป็นมา วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธกำลังลืมเลือน คุณสามารถอ่านบทความเพิ่มเติมด้านล่าง

รับชมเพิ่มเติมได้ที่นี่

คีย์เวิร์ดที่เกี่ยวข้องกับอธิกมาส หมายถึง

#วนอฏฐมบชา #ประวตและความเปนมา #วนสำคญทางพทธศาสนา #ทชาวพทธกำลงลมเลอน.

[vid_tags].

วันอัฏฐมีบูชา ประวัติและความเป็นมา วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธกำลังลืมเลือน.

อธิกมาส หมายถึง.

เราหวังว่าข้อมูลที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณที่ติดตามอธิกมาส หมายถึงข้อมูล

3 thoughts on “วันอัฏฐมีบูชา ประวัติและความเป็นมา วันสำคัญทางพุทธศาสนา ที่ชาวพุทธกำลังลืมเลือน | ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับอธิกมาส หมายถึง

  1. Still Fresh says:

    ตลอดระยะเวลาในการสร้างบารมีของพระบรมโพธิสัตว์ ทุกพระองค์ ทุกประเภท

    ท่านต้องใช้ปัญญาอย่างมากมายมหาศาล
    (ปัญญาน้อย…สร้างบารมีเพื่อเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้)

    ท่านต้องใช้ศรัทธาอย่างมากมายมหาศาล
    (ศรัทธาน้อย…สร้างบารมีเพื่อเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้)

    ท่านต้องใช้วิริยะอย่างมากมายมหาศาล
    (วิริยะน้อย…สร้างบารมีเพื่อเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ได้)

    ปัญญาธิกโพธิสัตว์ จะสามารถเป็นพระบรมครู ช่วยเหลือสรรพสัตว์ได้ "เร็วที่สุด"

    สัทธาธิกโพธิสัตว์ จะสามารถเป็นพระบรมครูได้ "เร็วปานกลาง" ช่วยเหลือสรรพสัตว์ได้ "มากปานกลาง"

    วิริยาธิกโพธิสัตว์ จะสามารถเป็นพระบรมครู ช่วยเหลือสรรพสัตว์ได้ "มากที่สุด"

    การช่วยเหลือสรรพสัตว์ ให้พ้นจากภัยในสังสารวัฏนั้น
    "ช่วยเหลือให้ได้เร็วๆก็เป็นเรื่องสำคัญ(ระยะเวลา)
    ช่วยเหลือให้ได้มากๆก็เป็นเรื่องสำคัญ(ปริมาณ)"
    เพราะฉะนั้น จึงขึ้นอยู่ที่ว่า พระบรมโพธิสัตว์จะเลือกแบบไหน

    ทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่ที่ความปรารถนาของพระองค์
    จึงไม่ใช่สิ่งที่จะนำมาเปรียบเทียบกันได้ว่า พระโพธิสัตว์ประเภทไหนเหนือกว่ากัน
    หรือพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประเภทไหนเหนือกว่ากัน

    ◇ เพราะทุกพระองค์ มีพระคุณอันไม่มีประมาณต่อสัตว์โลก

  2. Still Fresh says:

    ○ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้ง 3 ประเภท
    คือ พระปัญญาธิกพุทธเจ้า พระสัทธาธิกพุทธเจ้า และพระวิริยาธิกพุทธเจ้า ○

    ในสมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์ พระองค์สร้างบารมีต่างกันอย่างไร?

    มีอุปมา…เหมือนดอกอุบลในกออุบล ดอกปทุมในกอปทุม หรือดอกบุณฑริกในกอบุณฑริก ที่เกิดแล้วในน้ำ เจริญแล้วในน้ำ งอกงามแล้วในน้ำ 

    1) บางเหล่ายังจมในน้ำ อันน้ำเลี้ยงไว้
    2) บางเหล่าตั้งอยู่เสมอน้ำ(บัวปริ่มน้ำ)
    3) บางเหล่าตั้งอยู่พ้นน้ำ อันน้ำไม่ติดแล้ว.

    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประเภทที่1.
    ในสมัยที่พระองค์ยังเป็นพระโพธิสัตว์ "ทรงปรารถนาที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้ได้เร็วๆ เพื่อที่จะนำพาสรรพสัตว์ให้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะข้ามพ้นวัฏสงสารและเข้าถึงนิพพานให้ได้เร็วที่สุด"
    พระองค์สั่งสมบารมี 30 ทัศ พร้อมกับเคี่ยวเข็ญบุคคลที่เปรียบเสมือน"บัวพ้นน้ำ"
    คือขนเอาเฉพาะคนมีปัญญามากไปก่อน

    เพราะเหตุนี้จึงได้ชื่อว่า "อุคฆติตัญญูโพธิสัตว์"
    และเมื่อบารมีของพระองค์เต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ก็จะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประเภท"ปัญญาธิกะ"

    ใช้เวลาในการสร้างบารมีและเคี่ยวเข็ญสรรพสัตว์ "20 อสงไขยกับอีกแสนมหากัป" จึงขนสรรพสัตว์เข้านิพพานและไปสู่สุคติได้มากในระดับหนึ่ง แต่ยังมีลัทธิและความเชื่ออื่นอยู่มากในขณะที่พระองค์ทรงตรัสรู้และเผยแผ่พระศาสนา เช่นในสมัยของพระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า

    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประเภทที่ 2.
    ในสมัยที่ยังเป็นพระโพธิสัตว์ "ทรงปรารถนาที่จะขนสรรพสัตว์เข้านิพพานให้ได้มากๆ"
    พระองค์สั่งสมบารมี 30 ทัศ พร้อมกับเคี่ยวเข็ญบุคคล 2 ประเภทคือ
    1.เคี่ยวเข็ญคนที่มีปัญญามาก ซึ่งเปรียบเสมือน"บัวพ้นน้ำ"
    2.เคี่ยวเข็ญคนที่เปรียบเสมือน "บัวปริ่มน้ำ" คนเหล่านี้มีพื้นฐานของความศรัทธาอยู่แล้วพอประมาณ(ศรัทธาคือความเชื่อที่ประกอบด้วยปัญญา) พระโพธิสัตว์จึงส่งเสริมเพิ่มพูนศรัทธาแก่คนเหล่านี้ให้มากขึ้นๆ… จนกระทั่งสั่งสมบ่มบารมีได้แก่รอบ

    เพราะเหตุนี้จึงได้ชื่อว่า "วิปจิตัญญูโพธิสัตว์ "
    และเมื่อบารมีของพระองค์เต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ก็จะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประเภท"สัทธาธิกะ"

    ใช้เวลาในการสร้างบารมีและเคี่ยวเข็ญสรรพสัตว์ "40 อสงไขยกับอีกแสนมหากัป" จึงมีผู้ตรัสรู้ตามและมีผู้ไปสู่สุคติได้มากขึ้นกว่าพระปัญญาธิกพุทธเจ้า…แต่ก็ยังมีลัทธิและความเชื่ออื่นอยู่อีกบ้างพอสมควรในขณะที่พระองค์ตรัสรู้และเผยแผ่พระศาสนา เช่น พระกกุสันโธสัมมาสัมพุทธเจ้า พระโกนาคมสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระกัสสปสัมมาสัมพุทธเจ้า

    พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประเภทที่ 3.
    ในสมัยที่ยังเป็นพระโพธิสัตว์ "ทรงปรารถนาที่จะขนสรรพสัตว์เข้านิพพานให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้"
    พระองค์สั่งสมบารมี 30 ทัศ พร้อมกับเคี่ยวเข็ญบุคคลทั้ง 3 ประเภท คือ
    1.เคี่ยวเข็ญคนที่มี"ปัญญามาก"
    2.เคี่ยวเข็ญคนที่มี"ศรัทธาพอประมาณ"(ศรัทธาคือความเชื่อที่ประกอบด้วยปัญญา)
    3.เคี่ยวเข็ญคนที่มี…ปัญญาและศรัทธาน้อยนิด… "เปรียบเสมือนบัวที่ยังจมอยู่ในน้ำ" พระโพธิสัตว์ต้องใช้ความเพียรพยายาม ใช้ความวิริยะอุตสาหะ อย่างมากมายมหาศาล ในการทำหน้าที่กัลยาณมิตรให้แก่บุคคลเหล่านี้..

    เพราะเหตุนี้จึงได้ชื่อว่า "เนยยโพธิสัตว์"
    และเมื่อบารมีของพระองค์เต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ก็จะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประเภท"วิริยาธิกะ"

    ใช้เวลาในการสร้างบารมีและเคี่ยวเข็ญสรรพสัตว์ "80 อสงไขยกับอีกแสนมหากัป" จึงมีสาวกตรัสรู้ตามได้มาก และไปสู่สุคติเป็นจำนวนมาก…
    เนื่องจากพระองค์โปรดคนได้ทุกประเภท จึงไม่มีลัทธิหรือความเชื่ออื่นเลย ในขณะที่พระองค์ตรัสรู้และเผยแผ่พระศาสนา
    เช่น พระศรีอริยเมตไตรยสัมมาสัมพุทธเจ้า

    พระปัญญาธิกพุทธเจ้า เป็นพระบรมครูได้เร็วที่สุด มีพระวรกายเล็กกว่า พระชนมายุน้อยกว่า มีสัตว์ผู้ตรัสรู้ตามน้อยกว่า พระพุทธเจ้าประเภทอื่น

    พระสัทธาธิกพุทธเจ้า มีพระวรกายใหญ่ขึ้น พระชนมายุยืนยาวขึ้น มีสัตว์ผู้ตรัสรู้ตามมากขึ้นกว่าพระปัญญาธิกพุทธเจ้า

    พระวิริยาธิกพุทธเจ้า มีพระวรกายสูงใหญ่ พระชนมายุยืนยาว มีสัตว์ผู้ตรัสรู้ตามได้มากที่สุด

    ○ แต่ความเป็นพระพุทธเจ้า เสมอกันทุกพระองค์ คือ ทรงมีพระสัพพัญญุตญาณ และทรงถึงพร้อมด้วย พระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ ○

    ( https://youtu.be/U6KsPpvIKfI อสงไขย )

ใส่ความเห็น