คุณกำลังพยายามค้นหาเกี่ยวกับหัวข้อ มีนัดกับณัฏฐา : สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย (19 พ.ค. 60)? popasia.net นำเสนอเนื้อหาทันทีในหัวข้อของ ผลักดัน ภาษาอังกฤษ ในโพสต์ด้านล่าง.

มีนัดกับณัฏฐา : สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย (19 พ.ค. 60) | เว็บไซต์ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์สูงสุด.

ดูรายละเอียดในวิดีโอด้านล่าง

รูปภาพธีมผลักดัน ภาษาอังกฤษจัดทำโดย popasia.net.

มีนัดกับณัฏฐา : สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย (19 พ.ค. 60)
มีนัดกับณัฏฐา : สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย (19 พ.ค. 60)

คุณสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมได้ที่นี่: ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่นี่.

ดูเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับมีนัดกับณัฏฐา : สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย (19 พ.ค. 60).

การศึกษาของสิงคโปร์กำลังเป็นม้ามืดแซงหน้าประเทศอื่น ๆ ทั้งในเอเชียและยุโรป แทบทุกครั้งที่มีการจัดอันดับความเป็นเลิศด้านการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการประเมินผลของ PISA ที่ล่าสุดพบว่าเด็กสิงคโปร์ทำคะแนนได้สูงสุดทั้งด้านการอ่าน วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ขณะที่การจัดอันดับมหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในเอเชีย มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (NUS) ครองอันดับ 1 มาแล้ว 2 ปีซ้อน

“ณัฏฐา โกมลวาทิน” มีนัดกับคนในแวดวงการศึกษาสิงคโปร์หลายคน ไปสนทนากับ “ศ.คิชอร์ มาห์บูบานี” นักคิดนักเขียนชื่อดังของสิงคโปร์ ที่วิเคราะห์ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ได้อย่างลึกซึ้งแหลมคม จากนั้นไปนัดพบกับ “ปั้น-จิรภัทร” เน็ตไอดอลชาวไทยที่มาเรียนและทำงานในสิงคโปร์ จากนั้นไปนั่งเรียนหนังสือกับเด็กๆ ในโรงเรียนกวดวิชา และตามไปเกาะติดชีวิตเด็กสิงคโปร์ถึง 3 ครอบครัว
ทั้งหมดนี้ก็เพื่อทำความรู้จักกับระบบการศึกษาของสิงคโปร์ และได้พบว่าแม้การศึกษาสิงคโปร์จะจัดอยู่แถวหน้า แต่ก็มีปัญหาและความท้าทายอะไรบางอย่างที่นักวิชาการสิงคโปร์เองก็กังวลอยู่ไม่น้อย ปัญหาและความท้าทายนั้นคืออะไร

ติดตามชมรายการมีนัดกับณัฏฐา ทุกวันศุกร์ เวลา 21.10 – 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live
——————————————————-

ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่

Website :
Facebook :
Twitter :
Instagram :
Google Plus : www.thaipbs.or.th/GooglePlus
LINE : @ThaiPBS
Youtube : .

https://popasia.net/ หวังว่า ข้อมูล เกี่ยวกับ ผลักดัน ภาษาอังกฤษ ที่เรานำเสนอจะ มีประโยชน์ สำหรับคุณ.

ผู้คนกำลังมองหาหัวข้อ มีนัดกับณัฏฐา : สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย (19 พ.ค. 60).

ผลักดัน ภาษาอังกฤษ

ไทยพีบีเอส,ThaiPBS,ข่าวด่วน,ข่าว,บันเทิง,สารคดี,THAI PBS,tvdigital,ทีวีดิจิตอล,รายการข่าว,รายการบันเทิง,รายการสารคดี,www.thaipbs.or.th,ชมย้อนหลัง,ชมสด,ดูทีวีย้อนหลัง,ดูโทรทัศน์ย้อนหลัง,ไทยพีบีเอสออนไลน์,ทีวีออนไลน์,โทรทัศน์ออนไลน์,นิวมีเดีย,สื่อสาธารณะ,มีนัดกับณัฏฐา,สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย

#มนดกบณฏฐา #สงคโปร #การศกษาแถวหนา #บนความทาทาย #พค

39 thoughts on “มีนัดกับณัฏฐา : สิงคโปร์ : การศึกษาแถวหน้า บนความท้าทาย (19 พ.ค. 60) | Popasia

  1. Sirichai Gatesumpao says:

    ไทยยังท่องอาขยานอยู่เลย ท่องทำไม ? แทนที่จะให้สร้างอาขยานใหม่ๆในสไตล์ของทุกคน เราไม่มีสิ่งใหม่ๆเลย เด็กๆของเราเรียนแต่สิ่งเก่าๆ แล้วเราจะมีนวัตกรรมไหม?

  2. พลูโต สดับจิต says:

    ไม่เคยมองภูมิภาคอ่ะไรครับ เมื่อก่อนสิคโปตอนแยกจากมาเลก็ลุ้มลุกคุกคลาน ทรัพยากรก็ไม่มี คนสิงคโปร์ในสมัยนั้นส่วนมากก็เป็นกูรีตามท่าเรือ ประเทศแถบไม่มีอะไรเลย เค้าจะใช้ประโยชน์จากสิ่งที่มี อันน้อยนิดจนเติบโต เพราะเค้ารู้ว่ารากฐานสำคัญของประเทศคือบุคลากรที่ผลิตโดยระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ บวกกับการปลูกฝังทัศนคติแบบมองไปข้างหน้าให้ประชาชน ประเทศเราจะให้ดี ต้องเริ่มจากศูนย์ใหม่หมด รือระบบโครงสร้างการศึกษาทั้งหมด กล้าที่จะเปลี่ยนแปลง รับรองว่าเหนื่อย แต่คุ้มค่าแน่นอน โลกไปไหนแล้ว เห้อออ กูเหนื่อย

  3. Suksawat Saengjan Marissa Ng says:

    คนสิงคโปร์ถูกสอนมาให้ปฏิบัติหน้าของตัวเองให้ดีที่สุด ทำงานแบบให้เป็นที่หนึ่งขององค์กรนั้น เคยเรียน กศน. ภาษาอังกฤษของสิงคโปร์ยอมรับเลยว่ารัฐบาลเขาเก่งในการเลือกครูผู้สอน ถึงตอนนี้พูดภาษาอังกฤษคล่องในระดับหนึ่ง ค่าเทอมแสนถูก 10 เหรียญต่อเทอม เพื่อนร่วมห้องคือ คนทำงานโรงงาน ลุงป้าที่ติดตามลูกมาทำงานที่นี่ แม่บ้าน(คนใช้) หญิงต่างชาติที่มีสามีเป็นคนที่นี่ ลูกจ้างจะมีสิทธ์เรียกให้นายจ้างจ่ายค่าเทอมแทนได้ ในราคา150 เหรียญ ครูสอนเก่งสนุกไม่เบื่อไม่ง่วงนอน ไม่วิชาการเยอะเกินไป จบแล้วได้วุฒิเทียบเท่า ป6. ของสิงคโปร์แต่พูดได้ชัดคล่อง ไม่งง ไม่อาย และกล้าที่จะพูด รัฐบาลเขาลงทุนมากมายเพื่อให้คนทั้งประเทศ ทุกฐานะ ทุกอาชีพ ทุกวัย สามารถพูดภาษาอังกฤษเป็น .

  4. poloplow says:

    ผมว่าสิ่งสำคัญที่สุดคือขนาดของประเทศสิงคโปร์ที่เล็ก ดูแลจัดการง่าย เลยให้การศึกษาประชากรได้ง่าย มีคุณภาพ
    ลองนึกภาพว่า ถ้ากรุงเทพฯแยกเป็นประเทศใหม่ประเทศเดียว แล้วเอาระดับการศึกษามาวัดกัน
    ประเทศ(สมมติ)กรุงเทพฯก็จะทำได้ไม่แย่กว่าสิงคโปร์ เพราะเด็กๆมีแต่เรียนพิเศษ แข่งกันเข้าคณะดีๆ มหาวิทยาลัยดีๆ

    อีกอย่างหนึ่ง อย่าลืมว่าสิงคโปร์ไม่มีชนบท ไม่มีต่างจังหวัด ที่จะเอาคะแนนมาถ่วงค่าเฉลี่ยการศึกษา
    (ไม่ได้ว่าต่างจังหวัดไม่เก่ง แต่หมายความว่าเด็กต่างจังหวัดไม่มีการแข่งขันที่เข้มข้นเท่ากรุงเทพฯ)
    ถ้าสิงคโปร์มีพื้นที่ใหญ่เท่าประเทศไทย ก็ไม่มีทางเป็นสิงคโปร์ที่เรารู้จักเหมือนในวันนี้
    เพราะกระจายทรัพยากรเก่งแค่ไหน มันก็ต้องกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ และต่างจังหวัดจะได้รับไม่เยอะ

    ประเทศจีนก็มีการแข่งขันทางการศึกษาที่สูงมากจนน่ากลัว สอบเข้ามหาวิทยาลัยเหมือนชี้ชะตาตลอดชีวิต
    แต่ด้วยขนาดประเทศที่ใหญ่ก็ไม่สามารถกระจายการศึกษาให้คุณภาพเท่าเทียมกันได้

  5. somchai aimpoe says:

    ทำไม จึง เกิดทุกที่ เกิดจากรูปแบบเดียวกัน เกิดเมื่อได้เปิดหลักสูตรของ *ห้องเรียนรู้*ครับสำหรับ สาเหตุของการพัฒนารูปแบบเพื่อการสื่อสารทุกมิติของมนุษย์ชาติ เพราะ โลกใบนี้ มนุษย์ชาติ มี ผลมากที่สุดสำหรับปรากฏการณ์ต่างๆนับแต่อดีตจนถึงอนาคตครับทุกๆท่าน

  6. somchai aimpoe says:

    และสว่นที่สำคัญกัยมนุษย์ชาติคือรูปแบบใหม่ของภาคการพัฒนาเติมเต็มด้วยภาษาลำดับที่ ๕ ของ มนุษย์ชาติ ที่จะใช้กับ *ห้องเรียนรู้ * ครับทุกท่าน เป็น ผลของนวัตกรรมของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชครับทุกท่าน

  7. Marvel K says:

    เราไปเรียนพิเศษเพราะเราชอบเวาไปเรียนมันสนุกกว่าเรียนที่โรงเรียนเข้าใจง่ายกว่า ดีกว่าอยู่บ้านว่างๆ ได้เจอเพื่อนใหม่ๆ ได้ไปเที่ยวนอกบ้านบ้างในวันหยุด ไปเรียนด้วยความสมัครใจ มีความสุขในการเรียนเหมือนงานอดิเรก พ่อแม่ไม่ได้บังคับพาไป ในขณะเดียวกันก็เจอพ่อแม่บางคนไปเฝ้าลูกบังคับลูกเรียนและเรียนหนักกว่าเรามากมายอีกทั้งเรียนมาตั้งแต่ประถม ขณะที่เราเพิ่งเริ่มเรียนพิเศษตอน ม.ปลาย การเรียนให้ประสบความสำเร็จมันอาศัยปัจจัยหลายอย่างมาก ส่วนใหญ่การต่อสู้แข่งขัน เรามองว่ามันคือการชนะใจตัวเองมากกว่าผู้อื่น เช่น ในเวลาเดียวกันเราจะชนะใจตัวเองเอาเวลามาทำการบ้าน ฝึกฝนตนเอง หรือทำเรื่องไร้สาระ ส่วนครูเราอยากเรียนกับครูที่เก่งในการถ่ายทอดความรู้ให้สนุกและเข้าใจ มากกว่าครูที่เก่งแต่ถ่ายทอดไม่ได้ ศิลปะการสอนสำคัญมาก ถ้ามันดีเด็กจะไม่ต้องไปเรียนพิเศษ นอกจากนี้ครูควรมีหน้าที่สอนพัฒนาการสอน พัฒนาคน งานธุรการ สหกรณ์ บริหารจัดการอื่นๆควรจ้างคนอื่นอย่าให้ครูต้องมาทำเลย เรื่องวิทยฐานะการเลื่อนขั้นด้วย บางทีครูในระบบก็เอาเวลาไปทำตรงนั้นเกินไป งบการศึกษาเยอะสุดเงินเดือนครูตอนนี้ก็เยอะสวัสดิการก็ดี แต่ทำไมผลงานด้านการศึกษาของประเทศยังแย่ พูดไปคงอีกยาว….เฮ้อ

  8. Urairat Chuenchaem says:

    สนับสนุนให้ อาชีพครูรวย รายได้ดีๆ คนจะได้อยากเป็นเยอะๆ สอบแข่งกันเป็น หัวกะทิเท่านั้นที่จะได้เป็นครู เอาให้คะแนนเอ็นครูชนะหมอไปเลย อาชีพครูต้องไม่ใช่พวกขี้แพ้ ถ้าเอาพวกขี้แพ้มาเป็น คุณจะสอนใครให้ชนะได้

  9. Jane says:

    การศึกษาไทยมัวแต่ตรวจจับถุงเท้าสนดำ ผมยาวห้ามเกินติ่ง กราบไหว้บูชาครู ส่วมกะลาบนหัว และครูไม่ใช่หัวกะทิ ส่วนรัฐบาลโง่ๆ ก็สนใจแต่เรือดำน้ำ และคนขึ้นต่าง ไม่ไปไหนซะที กะลาแลนด์จริงๆ ิ

ใส่ความเห็น